คัดลอกมาจากhttps://sites.google.com/a/muk.ac.th/programs/hlak-kar-kheiyn-flowchart
วิดิโอคลิปอธิบายเรื่องผังงาน.............http://share.olanlab.com/th/it/blog/view/211
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart) มีหลักการง่ายๆที่ควรคำนึงดังนี้ คือ
การเขียนอัลกอริทึมและผังงาน
หัวข้อผังงานจากเวปต่างๆ
http://sudruadee.blogspot.com/2007/06/3.html
https://jaydaymaster.files.wordpress.com/2015/04/232301_ch4_flowchat.pdf
https://sites.google.com/a/nongki.ac.th/apinya-punyawut/kar-kae-payha-dwy-thekhnoloyi/po-kae-rm-phasa/kar-kheiyn-phang-fol-chard
https://suwanan.weebly.com/5-35853634361936483586363736183609361236333591359136343609.html
หลักการและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
วิดิโอคลิปอธิบายเรื่องผังงาน.............http://share.olanlab.com/th/it/blog/view/211
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart) เป็นผังงานรูปภาพที่ใช้แสดงแนวคิด หรือขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม และเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโปรแกรมที่ทำให้เราเขียนโปรแกรมได้ง่ายยิ่งขึ้น เนื่องจากเราสามารถมองเห็นแนวคิด และทิศทางการทำงานของโปรแกรมนั้นเอง
หลักการเขียนผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart) เป็นผังงานที่ใช้แสดงแนวความคิด หรือขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม โดยใช้สัญลักษณ์แทนคำอธิบาย ไม่ว่าจะเป็นการใช้กรอบสี่เหลี่ยมเป็นสัญลักษณ์แทนการประมวลผล หรือจะเป็นการใช้ลูกศรแทนทิศทางการทำงานของโปรแกรม ซึ่งเราสามารถสรุปสัญลักษณ์การทำงานที่ควรทราบได้ ดังนี้
1. ผังงาน (Flowchart) จะต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเสมอ
2. เลือกใช้สัญลักษณ์เพื่อสื่อความหมายให้ถูกต้อง
3. ใช้ลูกศรเป็นตัวกำหนดทิศทางการทำงานของโปรแกรมจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวาโดย
เรียงตามลำดับ
เรียงตามลำดับ
4. รูปสัญลักษณ์ทุกตัวต้องมีลูกศรเข้าและออก ยกเว้นจุดเริ่มต้นจะมีเฉพาะออก จุดสิ้นสุด
จะมีเฉพาะเข้าเท่านั้น
จะมีเฉพาะเข้าเท่านั้น
5. ลูกศรทุกตัวจะชี้ออกจากรูปสัญลักษณ์ตัวหนึ่งไปยังรูปสัญลักษณ์อีกตัวหนึ่งเสมอ
6. คำอธิบายภายในรูปสัญลักษณ์ ควรสั้นๆเข้าใจง่าย
7. ไม่ความใช้ลูกศรชี้ไปไกลมากเกินไป หากจำเป็นให้ใช้จุดเชื่อมแทน
ตัวอย่างการเขียนผังงาน (Flowchart) :
อัลกอริทึม (Algorithms)
คือ กระบวนการทำงานที่เป็นลำดับขั้นตอน ชัดเจนและมีการรับประกันว่า เมื่อได้ปฏิบัติตามขั้นตอนจนครบแล้ว จะได้ผลลัพธ์ ที่ถูกต้องตามความต้องการ
ตัวอย่าง อัลกอริทึมการต้มบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
ตัวอย่าง อัลกอริทึมการต้มบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
1. เทน้ำสะอาดใส่หม้อ และต้มน้ำจนเดือด
2. ฉีกซองและนำบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปใส่ลงในหม้อ3. เทเครื่องปรุงลงในหม้อ
4. ปิดฝา5. รอประมาณ 3 นาที
6. เทใส่ชามรับประทานได้
2. ฉีกซองและนำบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปใส่ลงในหม้อ3. เทเครื่องปรุงลงในหม้อ
4. ปิดฝา5. รอประมาณ 3 นาที
6. เทใส่ชามรับประทานได้
เมื่อปฏิบัติตามขั้นตอนข้างต้น ก็จะได้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่พร้อมรับประทานได้ทันที และจากขั้นตอนดังกล่าวนี้เอง หากผู้ใดก็ตามที่ได้ ปฏิบัติตามขั้นตอนนี้แล้วก็รับประกันได้ว่าจะได้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปพร้อมทานได้อย่างแน่นอน อย่างไรก็ตามขั้นตอนการทำงานของอัลกอริทึม อาจมีความแตกต่างกันได้ แต่จะได้ผลเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ดังนั้น สรุปได้ว่า อัลกอริทึมที่ใช้สำหรับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ สามารถมีหลายวิธีด้วยกันขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และแนวทางที่คิดว่าดีที่สุดในสถานการณ์นั้นๆ
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน ประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายต่างๆ ว่าการประมวลผลมีลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างไรบ้าง
การเขียนอัลกอริทึมและผังงาน
หัวข้อผังงานจากเวปต่างๆ
http://sudruadee.blogspot.com/2007/06/3.html
https://jaydaymaster.files.wordpress.com/2015/04/232301_ch4_flowchat.pdf
https://sites.google.com/a/nongki.ac.th/apinya-punyawut/kar-kae-payha-dwy-thekhnoloyi/po-kae-rm-phasa/kar-kheiyn-phang-fol-chard
https://suwanan.weebly.com/5-35853634361936483586363736183609361236333591359136343609.html
หลักการและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม